เซลล์จะหลั่งสารเคมีชนิดต่างๆ ที่มีผล่ต่อร่างกาย ดังนี้
1. HISTAMINE มีผลต่อร่างกายคือ
- กล้ามเนื้อเรียบหดตัว
- เพิ่มการขับ Mucous ของหลอดลม, ต่อมน้ำตาและต่อมน้ำลาย
- เพิ่ม Permeability ของเส้นเลือด
2. SEROTONIN มีผลต่อร่างกายคือ
- กล้ามเนื้อเรียบหดตัว
- หลอดเลือดเกร็งตัว (Spasm)
3. EOSINOPHIL CHEMOTACTIC FACTOR OF ANAPHYLAXIS (ECF-A) มีผลต่อร่างกายคือ
-ทำให้ EOSINOPHIL มารวมตัวกันบริเวณที่ฉีด
4. PLATELET ACTIVATING FACTOR
- ทำให้ Blood platelet มารวมตัวกันและปล่อยสาร Serotomin
5. OTHER BIOLOGICAL ACTIVE FACTORS ได้แก่
5.1 Neutrophil Chemotactic Factor (NCF-A)
Neutrophil Immobilizition Factor
ทำให้ Neutrophil มารวมตัวกันและทำลายแอนติเย่น
5.2 Heparin - ซึ่งทำให้เลือดแข็งตัวช้า
5.3 Kinin ที่สำคัญคือ Bradykinin ซึ่งมีผล
- กล้ามเนื้อเรียบหดตัว
- เพิ่ม Permeability ของหลอดเลือด


1. แอนติเย่น (Antigen) ซึ่งประกอบด้วย
- โปรตีน (Protcin) ซี่งเป็นส่วนประกอบของเชื้อ
- ท็อกซิน (Toxin) ที่เชื้อสร้างขึ้นทั้ง ENDOTOXIN และ EXOTOXIN
2. ส่วนประกอบของวัคซีน (COMPOSITIONS OF VACCINE)
2.1 อาหารเลี้ยงเชื้อ (NUTRIENT)
2.2 สารผสมในวัคซีน (PRESERVATIVE OR ADJUAVNTS)
- SAPONIN
- ALUM ADJUVANT
- OIL ADJUVANT
2.3 สารฆ่าเชื้อ (INACTIVANT)
- FORMALIN
- BEI. (BINARY ETHYLENE IMINE)
2.4 น้ำ (WATER FOR INJECTION)
- PYROGEN
- ORGANICS & INORGANICS
2.5 สารเคมีอื่น ๆ
- ANTI-FOAM
- ANTIBILTICS
- อื่น ๆ ( ETC.)
3. ตัวสัตว์ (Animal) ซึ่งประกอบด้วย
3.1 ชนิดของสัตว์ (kind of animal)
3.2 อายุของสัตว์ (Age of animal)
3.3 สุขภาพของสัตว์ (Health of animal)
3.4 สภาพของสัตว์ (Condition of animal)
- สัตว์เกิดโรค
- สัตว์เครียด (Stress)
- สัตว์มีภาวะภูมิไวเกิน (Hypersensitize)
- สัตว์ท้อง (Pregnant)
4. การฉีดวัคซีน (Vaccination) ซึ่งประกอบด้วย
4.1 เจ้าหน้าที่ (Vaccinator)
4.2 ทางฉีดเข้าร่างการ (Route of Injection)
- เข้ากล้าม (I/M)
- เข้าใต้ผิวหนัง (I/S)
- เข้าหนัง (I/D)
- เข้าเส้น (I/V)
4.3 ปริมาณของวัคซีน (Dose of vaccine)


รักษาตามอาการ (SYMPTOMATIC TREATMENT) ฉีด
- ADRENALINE โค, กระบือใหญ่ 10 ซีซี.
โค, กระบือเล็ก 5 ซีซี.
- EPINEPHRINE ฉีด 5-10 ซีซี.
- ANTIHISTAMINE ฉีด 5-10 ซีซี.
- CHROPHENILAMINE ฉีด 5-10 ซีซี.
ให้ยาซ้ำได้หลังจากให้ยาครั้งแรก 20-30 นาที


1. ศึกษารายละเอียดการใช้วัคซีนต่าง
- โปรแกรม
- ขนาดและวิธีใช้
- ข้อห้ามและข้อควรระวัง
2. ตรวจสอบวัคซีนก่อนใช้
- สภาพของวัคซีน
- วันหมดอายุของวัคซีน
- การเก็บรักษาวัคซีน
3. การเตรียมอุปกรณ์และการเตรียมสัตว์
- อุปกรณ์การฉีดสะอาดปราศจากเชื้อ
- ตรวจสุขภาพทั่วไปของสัตว์
- ระมัดระวังการจับสัตว์ และการควบคุมสัตว์
4. การเตรียมวัคซีน
- วัคซีนเชื้อตาย ต้องเขย่าขวดก่อนใช้ทุกครั้ง
- วัคซีนเชื้อเป็นจะต้องไม่ถูกความร้อนและแสงแดดโดยตรง
- วัคซีนทำแห้งต้องผสมน้ำยาและละลายและเขย่าให้เข้ากัน
- วัคซีนเชื้อเป็นละลายน้ำกินน้ำต้องสะอาดไม่มีสารคลอรีน
- ควรทำความสะอาดทุกขั้นตอนในการแทงเข็มดูดน้ำยาวัคซีน
5. -ข้อปฎิบัติขณะฉีด
- ควรฉีดเข้าร่างกายตามคำแนะนำ
- ควรฉีดปริมาณวัคซีนตามคำแนะนำ
- ควรทำความสะอาดบริเวณฉีด
- ควรเปลี่ยนเข็มทุกครั้ง เมื่อฉีดสัตว์ตัวต่อไป
- ขวดที่บรรจุวัคซีนทั้งเชื้อเป็นและเชื้อตาย ไม่ควรตั้งไว้ให้ถูกแสงแดดโดยตรง
- ควรใช้ให้หมดภายใน 1-2 ชั่วโมง
6. ข้อควรระวังหลังการฉีด
- หลังการฉีดควรให้สัตว์ได้พัก เพื่อสังเกตอาการหลังการฉีดประมาณ ฝ - 1 ชม.
- เตรียมยาแก้แพ้ไว้ให้พร้อมอยู่เสมอ


สัตว์ที่ได้รับการฉีดวัคซีนเฮโมรายิก เซฟติซีเมีย ชนิดอะลั่มอาจเกิดการแพ้วัคซีนได้ในบางตัว โดยสัตว์จะแสดงอาการของการแพ้วัคซีน ซึ่งจะแบ่งตามระดับความรุนแรง ดังนี้
- แพ้น้อย สัตว์มีอาการซึมน้ำลายไหล แสดงอาการทางระบบหายใจชัดเจน เช่น หายใจถี่หอบ และสะอึกไอ อาการเหล่านี้จะหายเองโดยไม่ฉีดยาแก้แพ้ในเวลาประมาณ 30 นาที
โค มักจะยืนซึม หลังโก่ง ขาหลังชิดกัน ขาสั่น บางตัวมีกล้ามเนื้อขาสั่นเล็กน้อย
- แพ้มาก สัตว์มีอาการซึม น้ำลายไหล ขนลุกตั้งชันทั้งตัว หรือมีอาการเกร็งตัวหลังโก่งหายใจด้วยกล้ามเนื้อท้องจตถึงล้มนอน มักจะแสดงอาการ ภายหลังการฉีดวัคซีน 15-30 นาที
อาการที่ไม่ถือเป็นการแพ้วัคซีน
- สัตว์ยืนซึม น้ำลายไหลเล็กน้อย เดินหนีหรือไม่ยอมให้เข้าใกล้ และไม่มีอาการทางระบบหายใจ
สัตว์ที่มีอาการแพ้มาก ควรแก้ไขโดยการฉีดยาแก้แพ้โดยให้ฉีดทั้ง Adrenaline และ ANTIHISTAMINE