1. เครื่องตัด
หญ้า สับ
หญ้า
2. ภาชนะ
ที่
ใช้
บรรจุ
หญ้า
สำหรับ
หมัก เช่น หลุม ถัง ถุง
พลาสติก
3. สาร
เสริม
ที่
ทำ
ให้
การ
หมัก
ดี
ขึ้น เช่น กาก
น้ำ
ตาล เพื่อ
ช่วย
เพิ่ม
คุณภาพ
ของ
หญ้า
หมัก ถ้า
ใช้
ข้าวโพด ข้าว
ฟ่าง ไม่
จำ
เป็น
ต้อง
เสริม
4. ผ้า
พลาสติก
สำหรับ
ปิด
ภาชนะ หลุม หรือ
อุปกรณ์
สำหรับ
ปิด
ปาก
ภาชนะ
อย่าง
อื่น
เพื่อ
ป้อง
กัน
อากาศ
จาก
ภาย
นอก
หั่น
หรือ
สับ
หญ้า
สด
ให้
มี
ขนาด 2-3 ซม. บรรจุ
หญ้า
สด
ที่
หั่น
แล้ว
ลง
ใน
ภาชนะ
สำหรับ
หมัก ซึ่ง
อาจ
เป็น
ถุง บ่อ
ซีเมนต์ หลุม ย่ำ
อัด
ให้
แน่น
เพื่อ
ไล่
อากาศ
ออก
ให้
หมด ใน
ขณะ
ที่
บรรจุ
หญ้า
ลง
ใน
ภาชนะ ละ
ลาย
กาก
น้ำ
ตาล พรม
ให้
ทั่ว ๆ เพื่อ
ช่วย
ให้
การ
หมัก
ดี
ยิ่ง
ขึ้น แต่
ถ้า
ไม่
สามารถ
หา
ได้
ก็
ไม่
ต้อง
ใช้ จาก
นั้น
ทำ
การ
ปิด
ภาชนะ
บรรจุ
หญ้า ด้วย
แผ่น
พลาสติก
ให้
มิด
ชิด
แล้ว
โรย
ทับ
ด้วย
ทราย
ป้อง
กัน
อากาศ
และ
น้ำ
หลัง
จาก
ปิด
ภาชนะ
แล้ว หมัก
ไว้ 3-4 สัปดาห์ หญ้า
เหล่า
นั้น
จะ
กลาย
เป็น
หญ้า
หมัก นำ
มา
ใช้
เลี้ยง
สัตว์
ได้
หญ้า
หมัก
ที่
มี
คุณภาพ
ดี
สามารถ
เก็บ
ไว้
ได้
นาน โดย
ที่
คุณ
ค่า
ทางอาหาร
ไม่
เปลี่ยน
แปลง
การ
ใช้
หญ้า
หมัก
เลี้ยง
โค
รีด
นม ไม่
ควร
ใช้
เกิน 15 กิโลกรัม
ต่อ
วัน และ
ควร
ให้
หลัง
การ
รีด
นม กรณี
เริ่ม
ใช้
หญ้า
หมัก เลี้ยง
ควร
แบ่ง
ให้
วัน
ละ
น้อย
และ
เพิ่ม
ขึ้น
เมื่อ
สัตว์
เคย
ชิน
1. กลิ่น
หอม
เปรี้ยว ไม่
เน่า
เหม็น
2. เนื้อ
พืช
ไม่
เป็น
เมือก ไม่
เละ
3. สี
เขียว
อม
เหลือง
4. รส
เปรี้ยว
พอ
ดี
5. ไม่
มี
เชื้อ
รา หรือ
ส่วน
บูด
เน่า
1. การ
อัด
หญ้า
ลง
ใน
ภาชนะ
ที่
ใช้
หมัก
ต้อง
อัด
ให้
แน่น
เพื่อ
ไล่
อากาศ
ที่
มี
อยู่
ใน
ภาชนะ
ออก
ให้
มา
กที่
สุด ซึ่ง
จะ
ช่วย
ให้
การ
หมัก
เกิด
ได้
ดี และ
หญ้า
หมัก
เสีย
น้อย
ที่
สุด
2. การ
ปิด
ภาชนะ
ที่
บรรจุ
ต้อง