ลำ
ตัว
มี
สี
เทา
ปน
ดำ
หรือ
น้ำ
ตาล
ปน
เทา หัว
โต
และ
ป้าน
ลำ
ตัว
เรียว
แหลม
มา
ทางด้าน
ท้าย ขนาด
ลำ
ตัว
ยาว
ประมาณ 4-6.5 มิลลิเมตร ตัว
เต็ม
วัย
บิน
ได้ ตัว
อ่อน
ไม่
มี
ปีก
แต่
เคลื่อน
ที่
ได้
รวด
เร็ว
และ
ว่อง
ไว ตัว
เต็ม
วัย
เพศ
เมีย
วาง
ไข่
ตาม
แนว
แกน
ใบ
อ่อน
หรือ
ก้าน
ช่อ
ดอก เห็น
เป็น
แผล
เล็กๆ คล้าย
มีด
กรีด มี
ยาง
สี
ขาว
ไหล
หยด
เห็น
ได้
ชัด
เจน อายุ
ไข่ 7-10 วัน อายุ
ตัว
อ่อน 17-19 วัน
ตัว
อ่อน
และ
ตัว
เต็ม
วัย จะ
ดูด
กิน
น้ำ
เลี้ยง
จาก
ใบ
อ่อน ช่อ
ดอก ก้าน
ดอก และ
ผล
อ่อน ทำ
ให้
ใบ
อ่อน
และ
ใบ
เพ
สลาด
ที่
ถูก
ทำลาย
หงิก
งอ
โค้ง
ลง ขอบ
ใบ
แห้ง
เพลี้ยจั๊กจั่น
ช่อ
มะม่วง มัก
เกิด
การ
ระบาด
เป็น
ประจำ
ใน
ช่วง
ออก
ดอก
และ
ผล
อ่อน
ประมาณ
เดือน
พฤศจิกายน
-มกราคม
ทำ
ให้
ดอก
และ
ผล
อ่อน
แห้ง
และ
ร่วง บาง
ครั้ง
ไม่
ติด
ผล
เลย
นอก
จาก
นี้ ขณะ
ที่
เพลี้ยจั๊กจั่น
ช่อ
มะม่วง
ดูด
น้ำ
เลี้ยง
จะ
ถ่าย
มูล
ออก
มา
เป็น
น้ำ
เหนียว
คล้าย
น้ำ
หวาน
ที่
เรียก
กัน
ว่า
น้ำ
ค้าง
น้ำ
ผึ้ง (honey dew)
ออก
มา
ติด
ตาม
ใบ ช่อ
ดอก
และ
ตาม
พื้น
บริเวณ
ทรง
พุ่ม ทำ
ให้
เห็น
เป็น
มัน
เยิ้ม ซึ่ง
เป็น
สาเหตุ
ให้
เกิด
รา
ดำ
ตาม
ใบ ช่อ
ดอก
และ
ผล
ทำ
ให้
ดอก
และ
ผล
ร่วง
อีก
ด้วย ถ้า
เป็น
ใน
ระยะ
ผล
โต
จะ
ทำ
ให้
ผล
สกปรก
ไม่
ได้
ราคา
1.
ใช้น้ำฉีด
พ่น
ใน
ช่วง
เช้า
เพื่อ
ชะ
ล้าง
มูล
น้ำ
หวาน
ที่
เกิด
จาก
เพลี้ยจั๊กจั่น เพื่อ
ป้อง
กัน
การ
เกิด
รา
ดำ
2.
เมื่อ
พบ
ปริมาณ
เพลี้ยจั๊กจั่น
เฉลี่ย
มาก
กว่า 5 ตัว
ต่อ
ช่อ ให้
ใช้
สาร