ภาคผนวก

ตารางแสดง ช่วงเพาะกล้า เพาะปลูกเก็บเกี่ยว และเก็บรักษา หอมหัวใหญ่ ของจังหวัดและอำเภอต่าง ๆ
 

จากการวิเคราะห์การผลิตและอัตราเน่าเสียในการเก็บรักษา และสัดส่วนน้ำหนักสดที่ลดลงในคาบเวลาต่าง ๆ ของข้อมูลศูนย์สถิติการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร และการทดสอบของสหกรณ์ผู้ปลูกหอมหัวใหญ่ฝาง จำกัด พบว่า
1. หอมหัวใหญ่สดทั้งหมดที่ต้องผลิตตั้งแต่ช่วงปลายเดือนพฤศจิกายนถึงเมษายน จะมีอัตราสูญเสียตั้งแต่เก็บเกี่ยวจนเข้าสู่ตลาดประมาณร้อยละ 10
2. น้ำหนักหอมหัวใหญ่แห้งตัดใบแล้ว คงเหลือหลังจากแขวนในเดือนต่าง ๆ ดังนี้

เดือนพฤษภาคม น้ำหนักคงเหลือ 0.6697 กก. ต่อน้ำหนักเริ่มต้น 1 กก.
เดือนมิถุนายน น้ำหนักคงเหลือ 0.5605 กก. ต่อน้ำหนักเริ่มต้น 1 กก.
เดือนกรกฎาคม น้ำหนักคงเหลือ 0.4607 กก. ต่อน้ำหนักเริ่มต้น 1 กก.
เดือนสิงหาคม น้ำหนักคงเหลือ 0.3451 กก. ต่อน้ำหนักเริ่มต้น 1 กก.
เดือนกันยายน น้ำหนักคงเหลือ 0.3310 กก. ต่อน้ำหนักเริ่มต้น 1 กก.

3. หอมหัวใหญ่ที่ผลิตที่จังหวัดนครสวรรค์และเชียงราย จะผลิต เพื่อจำหน่ายในท้องถิ่นและบริโภคภายในประเทศ
4. หอมหัวใหญ่ที่จังหวัดกาญจนบุรีและอำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ จะใช้ในการส่งออกไปยังประเทศญี่ปุ่นและประเทศอื่น ๆ
5. หอมหัวใหญ่สดที่ผลิตในอำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อใช้เก็บในห้องเย็น เป็นหอมแห้งที่ตัดใบแล้ว เดือนพฤษภาคม หลังจากเก็บหอมสดรวมใบแขวนไว้โดยมีอัตราการเน่าเสียและงอก อันเนื่องมาจาก
การเก็บรักษาในห้องเย็นนับจากเดือนพฤษภาคม ดังนี้

เดือนกันยายน อัตราการเน่าเสียร้อยละ 10 ของหอมเดือนพฤษภาคม
เดือนตุลาคม อัตราการเน่าเสียร้อยละ 15 ของหอมเดือนพฤษภาคม
เดือนพฤศจิกายน อัตราการเน่าเสียร้อยละ 20 ของเดือนพฤษภาคม

ตารางแสดง ราคาหอมหัวใหญ่ (เบอร์ 1) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยรายเดือน (หน่วย:บาท/ กิโลกรัม)
เดือน/ปี
มค.
กพ.
มีค.
เมย.
พค.
มิย.
กค.
สค.
กย.
ตค.
พย.
ธค.
เฉลี่ย
2525 
2526 
2527 
2528 
2529 
2530 
2531 
2532 
2533 
2534 
2535
11.25
8.50
12.23
11.10
9.56
8.50
8.50
6.26
7.25
5.29
10.82
5.31 
4.96 
8.31 
10.50 
3.35 
4.40 
4.50 
4.44 
5.10 
4.78 
2.66
2.69 
3.00 
3.33 
2.00 
2.55 
3.68 
3.30 
2.54 
4.25 
3.75 
2.16 
3.03 
3.58 
3.96 
1.20 
3.80 
3.46 
2.75 
0.70 
4.23 
4.42
5.00 
3.00 
4.50 
1.60 
4.30 
4.75 
3.23 
2.37 
- 
-
5.00 
2.93 
- 
1.12 
- 
- 
- 
3.00 
- 
-
5.00 
4.34 
- 
2.00 
- 
- 
- 
- 
- 
-
5.00 
4.87 
- 
2.50 
- 
- 
- 
- 
- 
- 
 
- 
5.37 
- 
- 
- 
- 
- 
- 
- 
21.46
- 
13.79 
17.00 
- 
- 
- 
9.00 
- 
18.00 
18.89
- 
16.61 
11.75 
22.00 
13.58 
16.35 
16.50 
21.08 
17.85 
31.59
8.00 
17.84 
8.13 
19.00 
13.75 
30.15 
13.15 
16.04 
11.13 
24.19
5.59 
7.40 
8.65 
7.30 
7.27 
10.16 
7.22 
7.05 
9.45 
14.29
ที่มา : กองวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางแสดง ราคาหอมหัวใหญ่ (เบอร์ 1) ขายส่ง ณ ตลาดกรุงเทพฯ เฉลี่ยรายเดือน (หน่วยบาท/กิโลกรัม)
เดือน/ปี
มค.
กพ.
มีค.
เมย.
พค.
มิย.
กค.
สค.
กย.
ตค.
พย.
ธค.
เฉลี่ย
2525  13.25 7.88  4.75  3.75  5.25  5.85  6.31  6.38  -  -  -  13.80  7.47
2526  18.13  13.17  3.30  3.62 4.06 3.95  5.19 6.63 10.63 17.50 17.60 23.50  10.61 
2527 20.13 9.05 4.92 5.81 7.98 7.64 13.06 17.24 21.12 17.48 11.80 10.78 12.26
2528 13.87 13.53 4.92 2.75 3.14 4.50 4.28 5.26 10.52 10.90 26.70 29.95 10.86
2529 9.61 3.72 3.01 4.25 5.56 7.43 9.61 11.18 17.35 19.69 21.40 15.10 10.66
2530 9.03 6.00 5.44 7.98 10.86 11.76 11.52 14.26 
(13.72)*
(18.60)* 16.53 
(18.40)*
20.85 
(22.58)*
32.50 
(33.00)*
13.38 
(21.26)*
2531 11.77 4.56 3.84 3.58 4.28 5.06 5.32 7.92 10.66 
(13.34)*
(13.28)* 15.00 13.65 
(18.55)*
7.97 
(16.20)*
2532 6.76 4.94 3.41 2.60 3.93 5.68 11.37 12.71 14.17 
(14.37)*
(20.38)* 20.08 
(18.58)*
18.29 8.79 
(17.78)*
25.33 8.74 6.60 5.76 11.22 13.30 15.18 21.10 (26.48)* (22.95)* (20.20)* 18.85 13.71 12.72 
(23.21)*
2534 8.00 6.84 5.80 7.60 9.13 11.38 15.75 18.75 22.46 
(22.94)*
20.91 
(19.22)*
32.76 25.38 25.40 
(21.08)*
2535 13.21 4.46 3.43
หมายเหตุ: * หอมหัวใหญ่เก็บรักษาไว้ในห้องเย็น
ที่มา: กองวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร

  

 
เอกสารอ้างอิง
กรมวิชาการเกษตร 2535 โรคหอมกระเทียมและการป้องกันกำจัด (เอกสารโรเนียว)
กรมส่งเสริมการเกษตร 2530 คำแนะนำที่ 25 หอมหัวใหญ่และวิธีการผลิต
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2535 แนวทางการจัดการผลิตและการตลาดหอมหัวใหญ่ ปี 2535/36