กำหนดลำดับจำกัด 2, 4, 8, 16, ..., 1024 นักเรียนหาผลบวกของลำดับชุดนี้ได้เท่าไร

จากลำดับเลขคณิตข้างต้นเราจะเรียกการแสดงผลบวกของพจน์ทุกพจน์ของลำดับว่า อนุกรม นั้นคือ 2+4+8+ ...+1024 เป็นอนุกรมเรขาคณิตที่ได้จากลำดับเรขาคณิต
2, 4, 8, 16, ..., 1024 เป็นต้น

จากตัวอย่างข้างล่างจะทำให้นักเรียนได้เข้าใจถึงลักษณะของอนุกรมเรขาคณิตได้มากขึ้น
ข้อ
ลำดับเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิต
1
9, 27, 81, ..., 729 9 + 27 + 81 + ... + 729
2
2, 8, 32, ..., 8192 2 + 8 + 32 + ... + 8192
3
2, 6, 18, 54 2 + 6 + 18 + 54
4
1, -1, 1, -1, 1 1 + (-1) + 1 + (-1) + 1
5
-2, -4, -8, -16 (-2) + (-4) + (-8) + (-16)
 

นิยาม กำหนดลำดับเรขาคณิต ถ้า แทนสัญลักษณ์ผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิต หมายความว่า

ตัวอย่าง กำหนดลำดับเลขคณิต 2, 4, 8, 16, 32, 64, 128, 256, 512, 1024, 2048, 4096 จงหา

รูปอนุกรม
ผลบวกของอนุกรม
2+4+8+16+32
92
2+4+8+16+32+64+128
284
2+4+8+16+32+64+128+256+512+1024
2086
2+4+8+16+32+64+128+256+512+1024+2048+4096
8230
 
แบบฝึกหัด ให้นักเรียนพิจารณาว่าอนุกรมต่อไปนี้เป็นอนุกรมเรขาคณิตหรือไม่
1. กำหนด
เป็นอนุกรมเรขาคณิต

ไม่เป็นอนุกรมเรขาคณิต

2. กำหนด
เป็นอนุกรมเรขาคณิต

ไม่เป็นอนุกรมเรขาคณิต

 
| หน้าแรก | ความหมายของอนุกรมเรขาคณิต | การหาสูตรอนุกรมเรขาคณิต | การหาผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิต |
 
| การหาค่าต่าง ๆ ในสูตรอนุกรมเรขาคณิต | การแก้โจทย์ปัญหาในอนุกรมเรขาคณิต |