1. การกินอาหาร สัตว์ป่วยจะกินอาหารน้อยลงหรือไม่สนใจที่จะกินอาหาร 2. อุณหภูมิของร่างกาย สัตว์ป่วยจะมีอุณหภูมิของร่างกายสูงกว่าปกติ หรือเรียกว่า "สัตว์มีไข้" โค ป่วย อุณหภูมิร่างกายสูงกว่า 103 องศาฟาเรนไฮต์ แพะ ป่วย อุณหภูมิร่างกายสูงกว่า 105 องศาฟาเรนไฮต์ แกะ ป่วย อุณหภูมิร่างกายสูงกว่า 104 องศาฟาเรนไฮต์ สุกร ป่วย อุณหภูมิร่างกายสูงกว่า 103 องศาฟาเรนไฮต์ กระต่าย ป่วย อุณหภูมิร่างกายสูงกว่า 103 องศาฟาเรนไฮต์ อุณหภูมิของร่างกายสูงกว่าปกติเมื่อสัวต์ป่วย สาเหตุก็เนื่องจากเชื้อโรคไปรบกวนการควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย 3. ความสนใจกับสภาพแวดล้อม สัตว์ป่วยจะแสดงอาการซึม ไม่สนใจต่อสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง หรือเสียงเคาะเรียก 4. จมูก บริเวณปลายจมูกของสัตว์ป่วยจะแห้ง อาจพบน้ำมูกใสหรอืขุ่นเขียวก็ได้แล้วแต่ชนิดของเชื้อโรค 5. ไอหรือจาม โดยเฉพาะสุกรหรือกระต่ายที่ป่วยด้วยโรคติดเชื้อทางระบบหายใจ จะมีอาการไอหรือจามมาก 6. ผิวหนังและขน สัตว์ป่วยจะมีผิวหนังซีดขาว (สุกร) และขนจะหยาบยาวไม่เป็นมันหรือเป็นแผล หรือมีฝีหรือตุ่มแดงที่ผิวหนัง 7. เยื่อตาและเหงือก จะมีสีชมพูเข้มหรือแดงเมื่อสัตวืป่วยมีไข้ หรือมีสีขาวซีดเมื่อสัตว์ป่วยเป็นโรคโลหิตจาง หรือโรคพยาธิภายใน หรือมีเลือดตกภายในช่องท้อง หรือช่องอกหรือมีพาราไซค์ในเลือด เป็นต้น 8. การกินน้ำ สัตว์ป่วยจะกินน้ำน้อยลง และถ้าสัตว์ไม่สนใจที่จะกินน้ำเลยแสดงว่าสัตว์ป่วยหนัก หรือใกล้ตาย 9. การหายใจ อัตราการหายใจของสัตว์ป่วยอาจจะเพิ่มมากขึ้นหรือน้อย
2. อุณหภูมิของร่างกาย สัตว์ป่วยจะมีอุณหภูมิของร่างกายสูงกว่าปกติ หรือเรียกว่า "สัตว์มีไข้" โค ป่วย อุณหภูมิร่างกายสูงกว่า 103 องศาฟาเรนไฮต์ แพะ ป่วย อุณหภูมิร่างกายสูงกว่า 105 องศาฟาเรนไฮต์ แกะ ป่วย อุณหภูมิร่างกายสูงกว่า 104 องศาฟาเรนไฮต์ สุกร ป่วย อุณหภูมิร่างกายสูงกว่า 103 องศาฟาเรนไฮต์ กระต่าย ป่วย อุณหภูมิร่างกายสูงกว่า 103 องศาฟาเรนไฮต์ อุณหภูมิของร่างกายสูงกว่าปกติเมื่อสัวต์ป่วย สาเหตุก็เนื่องจากเชื้อโรคไปรบกวนการควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย 3. ความสนใจกับสภาพแวดล้อม สัตว์ป่วยจะแสดงอาการซึม ไม่สนใจต่อสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง หรือเสียงเคาะเรียก 4. จมูก บริเวณปลายจมูกของสัตว์ป่วยจะแห้ง อาจพบน้ำมูกใสหรอืขุ่นเขียวก็ได้แล้วแต่ชนิดของเชื้อโรค 5. ไอหรือจาม โดยเฉพาะสุกรหรือกระต่ายที่ป่วยด้วยโรคติดเชื้อทางระบบหายใจ จะมีอาการไอหรือจามมาก 6. ผิวหนังและขน สัตว์ป่วยจะมีผิวหนังซีดขาว (สุกร) และขนจะหยาบยาวไม่เป็นมันหรือเป็นแผล หรือมีฝีหรือตุ่มแดงที่ผิวหนัง 7. เยื่อตาและเหงือก จะมีสีชมพูเข้มหรือแดงเมื่อสัตวืป่วยมีไข้ หรือมีสีขาวซีดเมื่อสัตว์ป่วยเป็นโรคโลหิตจาง หรือโรคพยาธิภายใน หรือมีเลือดตกภายในช่องท้อง หรือช่องอกหรือมีพาราไซค์ในเลือด เป็นต้น 8. การกินน้ำ สัตว์ป่วยจะกินน้ำน้อยลง และถ้าสัตว์ไม่สนใจที่จะกินน้ำเลยแสดงว่าสัตว์ป่วยหนัก หรือใกล้ตาย 9. การหายใจ อัตราการหายใจของสัตว์ป่วยอาจจะเพิ่มมากขึ้นหรือน้อย
อุณหภูมิของร่างกายสูงกว่าปกติเมื่อสัวต์ป่วย สาเหตุก็เนื่องจากเชื้อโรคไปรบกวนการควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย 3. ความสนใจกับสภาพแวดล้อม สัตว์ป่วยจะแสดงอาการซึม ไม่สนใจต่อสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง หรือเสียงเคาะเรียก 4. จมูก บริเวณปลายจมูกของสัตว์ป่วยจะแห้ง อาจพบน้ำมูกใสหรอืขุ่นเขียวก็ได้แล้วแต่ชนิดของเชื้อโรค 5. ไอหรือจาม โดยเฉพาะสุกรหรือกระต่ายที่ป่วยด้วยโรคติดเชื้อทางระบบหายใจ จะมีอาการไอหรือจามมาก 6. ผิวหนังและขน สัตว์ป่วยจะมีผิวหนังซีดขาว (สุกร) และขนจะหยาบยาวไม่เป็นมันหรือเป็นแผล หรือมีฝีหรือตุ่มแดงที่ผิวหนัง 7. เยื่อตาและเหงือก จะมีสีชมพูเข้มหรือแดงเมื่อสัตวืป่วยมีไข้ หรือมีสีขาวซีดเมื่อสัตว์ป่วยเป็นโรคโลหิตจาง หรือโรคพยาธิภายใน หรือมีเลือดตกภายในช่องท้อง หรือช่องอกหรือมีพาราไซค์ในเลือด เป็นต้น 8. การกินน้ำ สัตว์ป่วยจะกินน้ำน้อยลง และถ้าสัตว์ไม่สนใจที่จะกินน้ำเลยแสดงว่าสัตว์ป่วยหนัก หรือใกล้ตาย 9. การหายใจ อัตราการหายใจของสัตว์ป่วยอาจจะเพิ่มมากขึ้นหรือน้อย
3. ความสนใจกับสภาพแวดล้อม สัตว์ป่วยจะแสดงอาการซึม ไม่สนใจต่อสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง หรือเสียงเคาะเรียก 4. จมูก บริเวณปลายจมูกของสัตว์ป่วยจะแห้ง อาจพบน้ำมูกใสหรอืขุ่นเขียวก็ได้แล้วแต่ชนิดของเชื้อโรค 5. ไอหรือจาม โดยเฉพาะสุกรหรือกระต่ายที่ป่วยด้วยโรคติดเชื้อทางระบบหายใจ จะมีอาการไอหรือจามมาก 6. ผิวหนังและขน สัตว์ป่วยจะมีผิวหนังซีดขาว (สุกร) และขนจะหยาบยาวไม่เป็นมันหรือเป็นแผล หรือมีฝีหรือตุ่มแดงที่ผิวหนัง 7. เยื่อตาและเหงือก จะมีสีชมพูเข้มหรือแดงเมื่อสัตวืป่วยมีไข้ หรือมีสีขาวซีดเมื่อสัตว์ป่วยเป็นโรคโลหิตจาง หรือโรคพยาธิภายใน หรือมีเลือดตกภายในช่องท้อง หรือช่องอกหรือมีพาราไซค์ในเลือด เป็นต้น 8. การกินน้ำ สัตว์ป่วยจะกินน้ำน้อยลง และถ้าสัตว์ไม่สนใจที่จะกินน้ำเลยแสดงว่าสัตว์ป่วยหนัก หรือใกล้ตาย 9. การหายใจ อัตราการหายใจของสัตว์ป่วยอาจจะเพิ่มมากขึ้นหรือน้อย
4. จมูก บริเวณปลายจมูกของสัตว์ป่วยจะแห้ง อาจพบน้ำมูกใสหรอืขุ่นเขียวก็ได้แล้วแต่ชนิดของเชื้อโรค 5. ไอหรือจาม โดยเฉพาะสุกรหรือกระต่ายที่ป่วยด้วยโรคติดเชื้อทางระบบหายใจ จะมีอาการไอหรือจามมาก 6. ผิวหนังและขน สัตว์ป่วยจะมีผิวหนังซีดขาว (สุกร) และขนจะหยาบยาวไม่เป็นมันหรือเป็นแผล หรือมีฝีหรือตุ่มแดงที่ผิวหนัง 7. เยื่อตาและเหงือก จะมีสีชมพูเข้มหรือแดงเมื่อสัตวืป่วยมีไข้ หรือมีสีขาวซีดเมื่อสัตว์ป่วยเป็นโรคโลหิตจาง หรือโรคพยาธิภายใน หรือมีเลือดตกภายในช่องท้อง หรือช่องอกหรือมีพาราไซค์ในเลือด เป็นต้น 8. การกินน้ำ สัตว์ป่วยจะกินน้ำน้อยลง และถ้าสัตว์ไม่สนใจที่จะกินน้ำเลยแสดงว่าสัตว์ป่วยหนัก หรือใกล้ตาย 9. การหายใจ อัตราการหายใจของสัตว์ป่วยอาจจะเพิ่มมากขึ้นหรือน้อย
5. ไอหรือจาม โดยเฉพาะสุกรหรือกระต่ายที่ป่วยด้วยโรคติดเชื้อทางระบบหายใจ จะมีอาการไอหรือจามมาก 6. ผิวหนังและขน สัตว์ป่วยจะมีผิวหนังซีดขาว (สุกร) และขนจะหยาบยาวไม่เป็นมันหรือเป็นแผล หรือมีฝีหรือตุ่มแดงที่ผิวหนัง 7. เยื่อตาและเหงือก จะมีสีชมพูเข้มหรือแดงเมื่อสัตวืป่วยมีไข้ หรือมีสีขาวซีดเมื่อสัตว์ป่วยเป็นโรคโลหิตจาง หรือโรคพยาธิภายใน หรือมีเลือดตกภายในช่องท้อง หรือช่องอกหรือมีพาราไซค์ในเลือด เป็นต้น 8. การกินน้ำ สัตว์ป่วยจะกินน้ำน้อยลง และถ้าสัตว์ไม่สนใจที่จะกินน้ำเลยแสดงว่าสัตว์ป่วยหนัก หรือใกล้ตาย 9. การหายใจ อัตราการหายใจของสัตว์ป่วยอาจจะเพิ่มมากขึ้นหรือน้อย
6. ผิวหนังและขน สัตว์ป่วยจะมีผิวหนังซีดขาว (สุกร) และขนจะหยาบยาวไม่เป็นมันหรือเป็นแผล หรือมีฝีหรือตุ่มแดงที่ผิวหนัง 7. เยื่อตาและเหงือก จะมีสีชมพูเข้มหรือแดงเมื่อสัตวืป่วยมีไข้ หรือมีสีขาวซีดเมื่อสัตว์ป่วยเป็นโรคโลหิตจาง หรือโรคพยาธิภายใน หรือมีเลือดตกภายในช่องท้อง หรือช่องอกหรือมีพาราไซค์ในเลือด เป็นต้น 8. การกินน้ำ สัตว์ป่วยจะกินน้ำน้อยลง และถ้าสัตว์ไม่สนใจที่จะกินน้ำเลยแสดงว่าสัตว์ป่วยหนัก หรือใกล้ตาย 9. การหายใจ อัตราการหายใจของสัตว์ป่วยอาจจะเพิ่มมากขึ้นหรือน้อย
7. เยื่อตาและเหงือก จะมีสีชมพูเข้มหรือแดงเมื่อสัตวืป่วยมีไข้ หรือมีสีขาวซีดเมื่อสัตว์ป่วยเป็นโรคโลหิตจาง หรือโรคพยาธิภายใน หรือมีเลือดตกภายในช่องท้อง หรือช่องอกหรือมีพาราไซค์ในเลือด เป็นต้น 8. การกินน้ำ สัตว์ป่วยจะกินน้ำน้อยลง และถ้าสัตว์ไม่สนใจที่จะกินน้ำเลยแสดงว่าสัตว์ป่วยหนัก หรือใกล้ตาย 9. การหายใจ อัตราการหายใจของสัตว์ป่วยอาจจะเพิ่มมากขึ้นหรือน้อย
8. การกินน้ำ สัตว์ป่วยจะกินน้ำน้อยลง และถ้าสัตว์ไม่สนใจที่จะกินน้ำเลยแสดงว่าสัตว์ป่วยหนัก หรือใกล้ตาย 9. การหายใจ อัตราการหายใจของสัตว์ป่วยอาจจะเพิ่มมากขึ้นหรือน้อย
9. การหายใจ อัตราการหายใจของสัตว์ป่วยอาจจะเพิ่มมากขึ้นหรือน้อย